ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: serial, -serial- |
serial | (n) สิ่งที่ต่อเนื่องกัน, See also: สิ่งพิมพ์ที่ต่อเนื่องกัน, ภาพยนตร์ที่ฉายเป็นตอนต่อกัน, Syn. installment, serial picture, series | serial | (adj) ซึ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, See also: ซึ่งเป็นลำดับต่อกันไป, ซึ่งเป็นตอนๆ, Syn. consecutive, continued, on-going, following | serially | (adv) อย่างเป็นชุดๆ, See also: อย่างเป็นตอนๆ | serialize | (vi) ้เป็นอนุกรม | serialize | (vt) ทำให้เป็นอนุกรม | serial number | (n) เลขอนุกรม, See also: เลขลำดับ, เลขหมายอนุกรม, หมายเลขลำดับ, เลขหมายประจำเครื่อง เครื่องยนต์ กล้องถ่ายรูปและอ | serialization | (n) การทำให้เป็นอนุกรม |
|
| serial | (เซีย'เรียล) n. สิ่งที่ต่อเนื่องกัน, สิ่งตีพิมพ์, ที่ต่อเนื่องกัน, ภาพยนตร์ที่ฉายเป็นตอน ๆ adj. พิมพ์ต่อเนื่องกัน, ตีพิมพ์เป็นรายสัปดาห์ (รายปักษ์, เดือน, ครึ่งเดือน...) , เกี่ยวกับสิ่งตีพิมพ์ดังกล่าว, เป็นลำดับ, เป็นตอน ๆ, See also: serially adv. | serial communications | การสื่อสารแบบเรียงลำดับหมายถึง การถ่ายโอนข้อมูลทีละบิตผ่านทางสายเคเบิลเดี่ยว โดยปกติจะต้องให้ผ่านโมเด็ม (modem) ด้วย | serial computer | คอมพิวเตอร์แบบอนุกรมหมายถึงคอมพิวเตอร์ชนิดที่ทำการประมวลผลข้อมูลเรียงไปตามลำดับ ตรงข้ามกับ คอมพิวเตอร์แบบขนาน (pararell computer) ดู pararell computer เปรียบเทียบ | serial number | n. เลขอนุกรม, เลขลำดับ, หมายเลขอนุกรม, หมายเลขลำดับ, | serial port | ช่องอนุกรมหมายถึง ช่องที่อยู่ด้านหลังของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีไว้สำหรับเสียบสายไฟ ต่อไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เมาส์ การถ่ายโอนข้อมูลผ่านทางช่องนี้ จะช้ากว่าผ่านทางช่องขนาน (pararell port) มาก เพราะจะสามารถส่งถ่ายข้อมูลได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น ดู pararell port เปรียบเทียบ | serial processing | การประมวลผลแบบลำดับหมายถึง การอ่าน ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ไปทีละแฟ้มข้อมูล โดยเรียงไปตามลำดับของแฟ้มที่เก็บไว้ ตรงข้ามกับการประมวลผลแบบขนาน (pararell processing) ดู pararell processing เปรียบเทียบ |
| serial | (adj) เป็นตอน, เป็นอันดับ, ต่อเนื่องกัน, ติดต่อกัน | serial | (n) สิ่งที่ต่อเนื่องกัน, เรื่องยาว, ภาพยนตร์ชุด |
| | Serials control system | ระบบควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Union list of serials | รวมรายชื่อวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] | International Serial Data System | ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ, Example: <p>ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ (ISDS) เป็นระบบที่ดำเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วยคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็นสมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย <p>ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Serial Number | เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Irregular serial | สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสาร มีกำหนดออกไม่สม่ำเสมอ, Example: <p>สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสารที่มีกำหนดออกเผยแพร่ที่ไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก หรือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน <p>โดยปกติวารสารแต่ละชื่อ มีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน คือ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year ) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก กล่าวคือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน (Irregular) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union list of serials | รวมรายชื่อวารสาร, Example: <p>รวมรายชื่อวารสาร หรือ สหรายการวารสารของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย (Union list of serials) รวบรวมรายชื่อวารสารของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เป็นประเภทหนังสืออ้างอิง (Reference) สำหรับใช้เป็นคู่มือสำหรับบรรณารักษ์แผนกวารสาร แบ่งออกเป็นสหรายการวารสารวารสารภาษาไทย และสหรายการวารสารวารสารภาษาอังกฤษ <p>สหรายการวารสารวารสารภาษาไทย ชื่อว่า รวมรายชื่อวารสารในประเทศไทย (Union List of Periodicals in Thailand) จัดทำโดย คณะทำงานเพื่อความร่วมมือระหว่างห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา ฝ่ายวารสารและเอกสาร จัดพิมพ์ครั้งที่ 2/2539 แบ่งออกเป็น 2 เล่ม เล่ม 1 (ก-ย) เล่ม 2 (ร-ฮ) เนื้อหาเป็นการรวบรวมรายชื่อวารสารภาษาไทย ที่มีให้บริการอยู่ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งหอสมุดแห่งชาติ ให้รายละเอียดข้อมูลของวารสารแต่ละรายการตั้งแต่ฉบับย้อนหลังที่มีมาจนถึงปี พ.ศ.2537 และรายละเอียดเกี่ยวกับอักษรย่อรายชื่อของสถาบัน หน่วยงาน ห้องสมุด และรายการวารสาร (Holding) ฉบับที่มีให้บริการในห้องสมุดนั้น <p>สหรายการวารสารภาษาอังกฤษ โครงการรวมรายชื่อวารสารในประเทศไทยด้วยคอมพิวเตอร์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4/1993 (Union list of serials in Thailand) จัดทำโดยทบวงมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์รวม 1 เล่ม จัดเรียงตามตัวอักษรวารสาร A-Z ข้อมูลประกอบด้วย ISIS No. ISSN ชื่อวารสาร อักษรย่อรายชื่อของสถาบัน หน่วยงานห้องสมุด และรายการวารสาร (Holding) ฉบับที่มีให้บริการในห้องสมุดนั้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Acquisition of serial publication | การจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Serial publication | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-serial-publications.jpg" Title="Serial publication" alt="Serial publication"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง <p>คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง ภายในชื่อเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่มักมีหมายเลขแสดงลำดับที่การออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการจัดพิมพ์และเผยแพร่ เช่น วารสาร Nature Medicine ซึ่งมีกำหนดออกรายเดือน ฉบับประจำเดือน พ.ค. 2554 คือ May 2011, Volume 17 No 5 pp515-632 <p>ตัวอย่างกำหนการออก <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายปี (Annually) คือ 1 ปี : ครั้ง เช่น รายงานประจำปี <p>สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องนี้รวมถึง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งพิมพ์รายปี เช่น รายงานประชุมปี รายงานการสำรวจ สถิติ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Serials control system | ระบบควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Serial subsrciption agency | ตัวแทนบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p>การจัดซื้อ จัดหา บอกรับ ผ่านตัวแทนบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องหรือวารสาร เป็น ประเภทหนึ่งของวิธีการจัดหาวารสารโดยส่วนใหญ่การจัดหาวารสาร มี 2 วิธีหลัก คือ การจัดหาโดยตรงจากผู้ผลิตหรือสำนักพิมพ์ และ การจัดหาผ่านตัวแทน (Subscription agent) <p>การจัดหาโดยตรงจากผู้ผลิตหรือสำนักพิมพ์ มีข้อดี คือ ประหยัดเงินงบประมาณ เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าบริการ (Service charge) ให้กับบริษัทตัวแทนจำหน่าย ข้อเสีย คือ ต้องสำรองจ่ายเงินสำหรับค่าวารสารที่จะบอกรับล่วงหน้า กรณีบอกรับวารสารหลายสำนักพิมพ์ ต้องยุ่งยากในการดำเนินการเรื่องเอกสาร การติดต่อประสานงาน และเสียเงินค่าธรรมเนียมในการบอกรับแต่ละรายสำนักพิมพ์ <p>การจัดหาผ่านตัวแทน (Subscription agent, Dealers , Vendors) หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างห้องสมุดและสำนักพิมพ์ มีความรับผิดชอบในกระบวนการจัดหาวารสารให้แก่ห้องสมุด ครอบคลุมการสมัครเป็นสมาชิก การรับ-ส่งวารสาร การต่ออายุสมาชิก การทวง การแจ้งข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสาร เช่น การเปลี่ยนแปลงข้อมูลของวารสาร เช่น การเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนกำหนดออก เปลี่ยนลักษณะรูปเล่ม เปลี่ยนราคา เป็นต้น การบอกรับผ่านตัวแทนนี้ ผู้ดำเนินงานจัดหาวารสารมีหน้าที่เพียงแต่รวบรวมรายชื่อวารสารทั้งหมดที่ห้องสมุดต้องการจะเป็นสมาชิก ส่งไปให้ตัวแทนบอกรับวารสาร ต่อจากนั้นตัวแทนก็จะดำเนินการติดต่อกับทางสำนักพิมพ์ให้ทั้งหมด <p>ข้อดีของการบอกรับวารสารผ่านตัวแทน <p>1. ประหยัดเวลาและแรงงานในการดำเนินงาน <p>2. ตัวแทนมีความเข้าใจและรู้รายละเอียดของสำนักพิมพ์ และมีหน้าที่ความรับผิดชอบโดยเฉพาะ ทำให้สามารถบริหารจัดการกับการบอกรับวารสารที่หลากหลายชื่อ หลายสำนักพิมพ์ ได้ดี <p>3. ลดความยุ่งยากในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตัวแทนบางราย คิดราคาเป็นสกุลเงินไทย ซึ่งห้องสมุดต้องตรวจสอบราคาจริงจากสำนักพิมพ์ประกอบด้วย <p>ข้อเสียของการบอกรับวารสารผ่านตัวแทน คือ ห้องสมุดต้องเสียค่าบริการ (Service charge) ในการดำเนินการอำนวยความสะดวกให้กับห้องสมุดนั้น <p>หลักเกณฑ์ในการเลือกตัวแทนบอกรับวารสาร <p>1. คุณภาพการให้บริการ และ ความรวดเร็วในการให้บริการ <p>2. ความน่าเชื่อถือ พิจารณาจากผลการดำเนินงานธุรกิจของตัวแทนบอกรับวารสาร สภาพทางการเงินของตัวแทน <p>3. ลักษณะของตัวแทน พิจารณาที่ขนาดของบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร สามารถให้บริการในระดับนานาชาติได้ <p>การพิจารณาคัดเลือกตัวแทนบอกรับวารสาร ห้องสมุดสามารถใช้วิธีการศึกษาข้อมูลจากบริษัทตัวแทนโดยตรง หรือสอบถามไปยังผู้ดำเนินงานจัดหาวารสารของห้องสมุดอื่น ๆ เพื่อสอบถามข้อมูล ข้อดีและข้อเสีย ก่อนตัดสินใจเลือกใช้บริการ <p>การบอกรับผ่านตัวแทน ในเรื่องต่าง ๆ ควรมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรประกอบ เพื่อใช้เป็นหลักฐานยืนยัน หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในภายหลัง อย่างไรก็ตามการบอกรับทั้ง 2 วิธี ห้องสมุดควรตั้งงบประมาณเผื่อสำหรับการคำนวณกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศด้วย ซึ่งมีอัตราขึ้นลงอยู่เสมอ อาจทำให้การจ่ายเงินในบางเวลามีค่าใช้จ่ายสูงกว่าที่ตั้งงบประมาณไว้ และที่สำคัญหน่วยงานราชการ ตามระเบียบการจัดซื้อพัสดุ พ.ศ. 2535 ให้ต่ออายุได้ปีต่อปีเท่านั้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Serial bond | พันธบัตร หรือหุ้นกู้ที่มีกำหนดไถ่ถอนเป็นงวด ๆ [เศรษฐศาสตร์] | Cataloging of serial publications | การทำบัตรรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | serial port | ทางเข้า/ออกแบบขนาน, Example: ตัวเชื่อมต่อบนเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ยอมให้ส่งข้อมูลผ่านไปมาได้ทีละหนึ่งบิต [คอมพิวเตอร์] | Acquisition of serial publications | การจัดหาสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading] | Cataloging of serial publications | การทำรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading] | Serial murderers | ฆาตกรต่อเนื่อง [TU Subject Heading] | Serial murders | ฆาตกรรมต่อเนื่อง [TU Subject Heading] | Serial publications | สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading] | Serials control systems | ระบบควบคุมวารสาร [TU Subject Heading] | Assays, Serial | ค่าของการวัดเป็นลำดับ [การแพทย์] | Dilution, Serial | เจือจางตามลำดับขั้น, ความเข้มข้นต่างๆกัน, เจือจางน้ำยามาตรฐานตามลำดับส่วน, การทำเจือจางเป็นลำดับ [การแพทย์] | Dilution, Serial | การเจือจางด้วยอัตราคงที่เป็นขั้นๆ [การแพทย์] | serial ATA (SATA) | ซีเรียลเอทีเอ, ขั้วต่อสำหรับใช้เชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์ หรือดีวีดีไดร์ฟที่มีลักษณะของการส่งข้อมูลเป็นแบบอนุกรม มีอัตราเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงกว่าแบบ EIDE [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | universal serial bus (USB) | พอร์ตยูเอสบี, พอร์ตมาตรฐานที่คิดค้นขึ้นมาทดแทนพอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน ทำงานด้วยความเร็วสูง สามารถเชื่อมต่อได้หลายอุปกรณ์ในขณะเดียวกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | ไอเอสเอสเอ็น | (n) International Standard Serial Number, See also: ISSN, Syn. หมายเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร | เป็นลำดับ | (adv) in order, See also: respectively, in turn, serially, Example: ดีเจเปิดเพลงเพราะๆ ต่อเนื่องกันเป็นลำดับจนจบรายการ, Thai Definition: อย่างเรียงถัดๆ กันไป | หางเลข | (n) last serial numbers on the government's lottery tickets, See also: last numbers of a lottery ticket, Example: เขาซื้อสลากมากมายแต่ไม่เคยเฉียดกระทั่งหางเลข, Thai Definition: เลขท้ายสลากกินแบ่งที่ได้รางวัล |
| อนุกรมเอกสาร | [anukrom ekkasān] (n, exp) EN: reference number of a document ; serial number of a document FR: référence de document [ f ] |
| | | biserial correlation coefficient | (n) a correlation coefficient in which one variable is many-valued and the other is dichotomous, Syn. biserial correlation | serial | (n) a serialized set of programs, Syn. series | serial | (adj) pertaining to or composed in serial technique | serial | (adj) pertaining to or occurring in or producing a series | serial | (adj) of or relating to the sequential performance of multiple operations, Syn. nonparallel, in series | serialism | (n) 20th century music that uses a definite order of notes as a thematic basis for a musical composition, Syn. serial music | serialization | (n) publication in serial form, Syn. serialisation | serialize | (v) arrange serially, Syn. serialise | serial killer | (n) someone who murders more than three victims one at a time in a relatively short interval, Syn. serial murderer | serially | (adv) in a serial manner | serial monogamy | (n) a succession of short monogamous relationships (as by someone who undergoes multiple divorces) | serial operation | (n) the sequential execution of operations one after another, Syn. sequential operation, consecutive operation, Ant. parallel operation | serial port | (n) an interface (commonly used for modems and mice and some printers) that transmits data a bit at a time | serial processing | (n) sequential processing by two or more processing units | character printer | (n) a printer that prints a single character at a time, Syn. serial printer, character-at-a-time printer | consecutive | (adj) in regular succession without gaps, Syn. sequent, serial, sequential, successive | series | (n) a periodical that appears at scheduled times, Syn. serial, serial publication |
| Biseriate | { } a. [ Pref. bi- + serial, seriate. ] In two rows or series. [ 1913 Webster ] Variants: Biserial | Curviserial | a. [ L. curvus bent + E. serial. ] (Bot.) Distributed in a curved line, as leaves along a stem. [ 1913 Webster ] | Multiserial | a. [ Multi- + serial. ] (Bot.) Arranged in many rows, or series, as the scales of a pine cone, or the leaves of the houseleek. [ 1913 Webster ] | Rectiserial | a. [ Recti- + serial. ] (Bot.) Arranged in exactly vertical ranks, as the leaves on stems of many kinds; -- opposed to curviserial. [ 1913 Webster ] | Serial | a. 1. Of or pertaining to a series; consisting of a series; appearing in successive parts or numbers; as, a serial work or publication. “Classification . . . may be more or less serial.” H. Spencer. [ 1913 Webster ] 2. (Bot.) Of or pertaining to rows. Gray. [ 1913 Webster ] Serial homology. (Biol.) See under Homology. -- Serial symmetry. (Biol.) See under Symmetry. [ 1913 Webster ]
| Serial | n. A publication appearing in a series or succession of part; a tale, or other writing, published in successive numbers of a periodical. [ 1913 Webster ] | Seriality | n. The quality or state of succession in a series; sequence. H. Spenser. [ 1913 Webster ] | Serially | adv. In a series, or regular order; in a serial manner; as, arranged serially; published serially. [ 1913 Webster ] | Triseriate | { } a. [ Pref. tri- + serial, seriate. ] (Bot.) Arranged in three vertical or spiral rows. [ 1913 Webster ] Variants: Triserial | Uniserial | a. [ Uni- + serial. ] Having only one row or series. [ 1913 Webster ] |
| 编号 | [biān hào, ㄅㄧㄢ ㄏㄠˋ, 编 号 / 編 號] number; serial number #7,622 [Add to Longdo] | 连续剧 | [lián xù jù, ㄌㄧㄢˊ ㄒㄩˋ ㄐㄩˋ, 连 续 剧 / 連 續 劇] serialized drama; dramatic series; show in parts #14,456 [Add to Longdo] | 连载 | [lián zài, ㄌㄧㄢˊ ㄗㄞˋ, 连 载 / 連 載] serialized; published as a serial (in a newspaper) #20,429 [Add to Longdo] | 围城 | [wéi chéng, ㄨㄟˊ ㄔㄥˊ, 围 城 / 圍 城] siege; The Beleaguered City, famous 1947 novel by Qian Zhongshu 錢鐘書|钱钟书, filmed as TV serial #24,465 [Add to Longdo] | 对号 | [duì hào, ㄉㄨㄟˋ ㄏㄠˋ, 对 号 / 對 號] checkmark; number for verification (serial number, seat number etc); fig. two things match up #57,577 [Add to Longdo] | 续编 | [xù biān, ㄒㄩˋ ㄅㄧㄢ, 续 编 / 續 編] sequel; continuation (of a serial publication) #72,636 [Add to Longdo] | 库纳南 | [kù nà nán, ㄎㄨˋ ㄋㄚˋ ㄋㄢˊ, 库 纳 南 / 庫 納 南] (Andrew) Cunanan (alleged serial killer) [Add to Longdo] | 海上奇书 | [hǎi shàng qí shū, ㄏㄞˇ ㄕㄤˋ ㄑㄧˊ ㄕㄨ, 海 上 奇 书 / 海 上 奇 書] literary journal published in 1892-93 by Han Bangqing 韓邦慶|韩邦庆 featuring serialized novels in classical Chinese and Jiangsu vernacular [Add to Longdo] |
| | 連続 | [れんぞく, renzoku] (n, vs) serial; consecutive; continuity; occurring in succession; continuing; (P) #507 [Add to Longdo] | 連載 | [れんさい, rensai] (n, vs, adj-no) serialization; serialisation; serial story; (P) #1,436 [Add to Longdo] | 直列 | [ちょくれつ, chokuretsu] (n, adj-no) (1) series (e.g. electrical); (adj-f) (2) serial; (P) #8,783 [Add to Longdo] | シリアル;シリヤル | [shiriaru ; shiriyaru] (adj-na, n, adj-no) (1) serial; (2) cereal #13,737 [Add to Longdo] | 読み切り;読切り | [よみきり, yomikiri] (n, adj-no) (1) finishing reading; (2) non-serialised stories (e.g. in magazines); complete novel; (3) (See 句読) punctuation #15,281 [Add to Longdo] | スリップ | [surippu] (n, vs) (1) slip (i.e. slide); (n) (2) slip (i.e. petticoat); (3) Serial Link IP; SLIP; (P) #19,535 [Add to Longdo] | USB | [ユーエスビー, yu-esubi-] (n) { comp } universal serial bus; USB [Add to Longdo] | シリアライズ | [shiriaraizu] (n) serialize; serialise [Add to Longdo] | シリアルATA | [シリアルエーティーエー, shiriarue-tei-e-] (n) { comp } Serial AT Attachment [Add to Longdo] | シリアルATAII | [シリアルエーティーエーアイアイ, shiriarue-tei-e-aiai] (n) { comp } serial AT Attachment 2 [Add to Longdo] | シリアルEEPROM | [シリアルイーイープロム, shiriarui-i-puromu] (n) { comp } serial EEPROM [Add to Longdo] | シリアルインターフェース | [shiriaruinta-fe-su] (n) { comp } serial interface [Add to Longdo] | シリアルインターフェイス | [shiriaruinta-feisu] (n) { comp } serial interface [Add to Longdo] | シリアルインタフェース | [shiriaruintafe-su] (n) { comp } serial interface [Add to Longdo] | シリアルコネクタ | [shiriarukonekuta] (n) { comp } serial connector [Add to Longdo] | シリアルデバイス | [shiriarudebaisu] (n) { comp } serial device [Add to Longdo] | シリアルトラックボール | [shiriarutorakkubo-ru] (n) { comp } serial trackball [Add to Longdo] | シリアルナンバー | [shiriarunanba-] (n) { comp } serial number [Add to Longdo] | シリアルプリンタ | [shiriarupurinta] (n) { comp } character printer; serial printer [Add to Longdo] | シリアルプリンター | [shiriarupurinta-] (n) serial printer [Add to Longdo] | シリアルポート | [shiriarupo-to] (n) { comp } serial port [Add to Longdo] | シリアルポインティングデバイス | [shiriarupointeingudebaisu] (n) { comp } serial pointing device [Add to Longdo] | シリアルマウス | [shiriarumausu] (n) { comp } serial mouse [Add to Longdo] | シリアルラインインターネットプロトコル | [shiriarurain'inta-nettopurotokoru] (n) { comp } Serial Line Internet Protocol; SLIP [Add to Longdo] | シリアル接続 | [シリアルせつぞく, shiriaru setsuzoku] (n) { comp } serial connection [Add to Longdo] | シリアル通信 | [シリアルつうしん, shiriaru tsuushin] (n) serial communication [Add to Longdo] | シリアル転送 | [シリアルてんそう, shiriaru tensou] (n) { comp } serial transfer [Add to Longdo] | シリアル伝送 | [シリアルでんそう, shiriaru densou] (n) { comp } serial transmission [Add to Longdo] | シリアル番号 | [シリアルばんごう, shiriaru bangou] (n) { comp } serial number [Add to Longdo] | スタティサイダ | [sutateisaida] (n) { comp } staticizer; serial-parallel converter [Add to Longdo] | ダイナミサイザ | [dainamisaiza] (n) { comp } serializer; parallel-serial converter; dynamicizer [Add to Longdo] | ファイル通し番号 | [ファイルとおしばんごう, fairu tooshibangou] (n) { comp } file serial number [Add to Longdo] | 一貫番号 | [いっかんばんごう, ikkanbangou] (n) serial number [Add to Longdo] | 玉突き;玉突(io) | [たまつき, tamatsuki] (n) (1) billiards; pool; (2) serial collisions (of cars) [Add to Longdo] | 高速シリアルインターフェース | [こうそくシリアルインターフェース, kousoku shiriaruinta-fe-su] (n) { comp } High-Speed Serial Interface; HSSI [Add to Longdo] | 高速直列インターフェイス | [こうそくちょくれつインターフェイス, kousokuchokuretsu inta-feisu] (n) { comp } high speed serial interface [Add to Longdo] | 国際逐次刊行物データシステム | [こくさいちくじかんこうぶつデータシステム, kokusaichikujikankoubutsu de-tashisutemu] (n) { comp } International Serials Data System; ISDS [Add to Longdo] | 国際標準逐次刊行物番号 | [こくさいひょうじゅんちくじかんこうぶつばんごう, kokusaihyoujunchikujikankoubutsubangou] (n) { comp } International Standard Serial Number; ISSN [Add to Longdo] | 順次アクセス | [じゅんじアクセス, junji akusesu] (n) { comp } sequential access; serial access [Add to Longdo] | 証明証通し番号 | [しょうめいしょうとおしばんごう, shoumeishoutooshibangou] (n) { comp } certificate serial number [Add to Longdo] | 製造番号 | [せいぞうばんごう, seizoubangou] (n) (manufacturer's) serial number [Add to Longdo] | 続き物 | [つづきもの, tsudukimono] (n) a serial story [Add to Longdo] | 続き漫画 | [つづきまんが, tsudukimanga] (n) serial cartoon; serial comic; serial comic strip [Add to Longdo] | 帯ドラマ | [おびドラマ, obi dorama] (n) radio or television serial broadcast in the same time slot each day or week [Add to Longdo] | 逐次印字装置 | [ちくじいんじそうち, chikujiinjisouchi] (n) { comp } character printer; serial printer [Add to Longdo] | 逐次刊行物 | [ちくじかんこうぶつ, chikujikankoubutsu] (n) { comp } serial publication [Add to Longdo] | 逐次刊行物の受入れ | [ちくじかんこうぶつのうけいれ, chikujikankoubutsunoukeire] (n) { comp } accessioning of serials [Add to Longdo] | 朝ドラ | [あさドラ, asa dora] (n) (See ドラマ・2) morning drama (morning television serial) [Add to Longdo] | 直並列変換器 | [ちょくへいれつへんかんき, chokuheiretsuhenkanki] (n) { comp } staticizer; serial-parallel converter [Add to Longdo] | 直列加算 | [ちょくれつかさん, chokuretsukasan] (n) { comp } serial addition [Add to Longdo] |
| シリアルインタフェース | [しりあるいんたふぇーす, shiriaruintafe-su] serial interface [Add to Longdo] | シリアルデバイス | [しりあるでばいす, shiriarudebaisu] serial device [Add to Longdo] | シリアルトラックボール | [しりあるとらっくぼーる, shiriarutorakkubo-ru] serial trackball [Add to Longdo] | シリアルナンバー | [しりあるなんばー, shiriarunanba-] serial number [Add to Longdo] | シリアルプリンタ | [しりあるぷりんた, shiriarupurinta] character printer, serial printer [Add to Longdo] | シリアルポート | [しりあるぽーと, shiriarupo-to] serial port [Add to Longdo] | シリアルポインティングデバイス | [しりあるぽいんていんぐでばいす, shiriarupointeingudebaisu] serial pointing device [Add to Longdo] | シリアルマウス | [しりあるまうす, shiriarumausu] serial mouse [Add to Longdo] | シリアル接続 | [シリアルせつぞく, shiriaru setsuzoku] serial connection [Add to Longdo] | シリアル伝送 | [シリアルでんそう, shiriaru densou] serial transmission [Add to Longdo] | シリアル番号 | [シリアルばんごう, shiriaru bangou] serial number [Add to Longdo] | スタティサイダ | [すたていさいだ, sutateisaida] staticizer, serial-parallel converter [Add to Longdo] | ダイナミサイザ | [だいなみさいざ, dainamisaiza] serializer, parallel-serial converter, dynamicizer [Add to Longdo] | ファイル通し番号 | [ファイルとおしばんごう, fairu tooshibangou] file serial number [Add to Longdo] | 高速シリアルインターフェース | [こうそくシリアルインターフェース, kousoku shiriaruinta-fe-su] High-Speed Serial Interface, HSSI [Add to Longdo] | 高速直列インターフェイス | [こうそくちょくれつインターフェイス, kousokuchokuretsu inta-feisu] high speed serial interface [Add to Longdo] | 順次アクセス | [じゅんじアクセス, junji akusesu] sequential access, serial access [Add to Longdo] | 証明証通し番号 | [しょうめいしょうとうしばんごう, shoumeishoutoushibangou] certificate serial number [Add to Longdo] | 逐次印字装置 | [ちくじいんじそうち, chikujiinjisouchi] character printer, serial printer [Add to Longdo] | 逐次刊行物 | [ちくじかんこうぶつ, chikujikankoubutsu] serial publication [Add to Longdo] | 逐次刊行物の受入れ | [ちくじかんこうぶつのうけいれ, chikujikankoubutsunoukeire] accessioning of serials [Add to Longdo] | 直並列変換器 | [ちょくへいれつへんかんき, chokuheiretsuhenkanki] staticizer, serial-parallel converter [Add to Longdo] | 直列 | [ちょくれつ, chokuretsu] serial [Add to Longdo] | 直列加算 | [ちょくれつかさん, chokuretsukasan] serial addition [Add to Longdo] | 直列加算器 | [ちょくれつかさんき, chokuretsukasanki] serial adder [Add to Longdo] | 直列伝送 | [ちょくれつでんそう, chokuretsudensou] serial transmission [Add to Longdo] | 通し番号 | [とおしばんごう, tooshibangou] serial number [Add to Longdo] | 並直列変換器 | [へいちょくれつへんかんき, heichokuretsuhenkanki] serializer, parallel-serial converter, dynamicizer [Add to Longdo] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |