Search result for

*decima*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: decima, -decima-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
decimal(n) เลขทศนิยม, Syn. decimal number
decimate(vt) ทำลายยับเยิน, See also: ทำลายไปเป็นจำนวนมาก, สังหารหมู่, Syn. abate, massacre
decimalize(vt) ทำให้เป็นทศนิยม, See also: แปลงให้เป็นทศนิยม
decimalize(vi) ้เป็นทศนิยม, See also: แปลงเป็นทศนิยม
decimation(n) การทำลายล้างเป็นจำนวนมาก, See also: การสังหารหมู่, การฆ่าล้างบาง, Syn. genocide, destruction
decimal point(n) จุดทศนิยม
recuring decimal(n) ทศนิยมไม่รู้จบ, Syn. repeating decimal

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
binary coded decimalเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001
decimal numberเลขฐานสิบหมายถึง ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ในระบบเลขฐาน 10 ที่ใช้กันอยู่
decimalismn. วิธีการหรือระบบทศนิยม
decimatevt. ทำลายยับเยิน, สังหารยับเยิน, เลือกคนที่ 10, See also: decimation n. ดูdecimate decimator n ดูdecimate, Syn. destroy
hexadecimalฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
recurrent decimaln. เศษทศนิยมไม่รู้จักจบ

English-Thai: Nontri Dictionary
decimal(adj) ตามแบบทศนิยม, เกี่ยวกับทศนิยม
decimal(n) ทศนิยม
decimate(vt เลือกชิ้นที่) 10, ทำลายยับเยิน, ทำให้เสียหายมาก, ฆ่าทิ้ง

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
packed decimalทศนิยมอัดแน่น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
periodic decimal; circulating decimal; recurring decimal; repeating decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
recurring decimal; circulating decimal; periodic decimal; repeating decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
repeating decimal; circulating decimal; periodic decimal; recurring decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
assumed decimal pointจุดทศนิยมสมมุติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
actual decimal pointจุดทศนิยมจริง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
automatic decimal adjustmentการปรับทศนิยมอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary-to-decimal conversionการแปลงผันจากฐานสองเป็นฐานสิบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary coded decimal (BCD)เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง (บีซีดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary coded decimal (BCD)เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง (บีซีดี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
binary coded decimal notationสัญกรณ์เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary coded decimal representationการแทนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
BCD (binary coded decimal)บีซีดี (เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
BCD (binary coded decimal)บีซีดี (เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
circulating decimal; periodic decimal; recurring decimal; repeating decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
denary number system; decimal number systemระบบจำนวนฐานสิบ [ มีความหมายเหมือนกับ decimal system ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
duodecimal๑. ทวาทศนิยม๒. ฐานสิบสอง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
duodecimal number systemระบบจำนวนฐานสิบสอง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal๑. ทศนิยม๒ ฐานสิบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
decimal๑. ทศนิยม๒. ฐานสิบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal fractionเศษส่วนทศนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal notationสัญกรณ์ฐานสิบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
decimal number system; denary number systemระบบจำนวนฐานสิบ [ มีความหมายเหมือนกับ decimal system ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal placeตำแหน่งทศนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal pointจุดทศนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal systemระบบฐานสิบ [ มีความหมายเหมือนกับ decimal number system; denary number system ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal๑. ฐานสิบ๒. ทศนิยม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)เอบซีดิก (รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)เอบซีดิก (รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย (เอบซีดิก) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย (เอบซีดิก) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
terminating decimalทศนิยมรู้จบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
hexadecimal๑. ฐานสิบหก๒. โสฬสนิยม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
hexadecimal๑. โสฬสนิยม๒. ฐานสิบหก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
hexadecimal methodวิธีโสฬสนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
hexadecimal notationสัญกรณ์ฐานสิบหก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
hexadecimal number systemระบบจำนวนฐานสิบหก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
non-terminating decimalทศนิยมไม่รู้จบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Dewey Decimal Classificationการจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Decimal classificationการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Decimal systemระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Dewey Decimal Classificationการจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Universal Decimal Classificationระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Classification, Dewey Decimalการวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Decimal reduction doseดีเท็น, ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์มีชีวิตรอดเหลืออยู่ร้อยละ 10 หรือ ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์ตายร้อยละ 90 [นิวเคลียร์]
Classification, Dewey decimalการวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้ [TU Subject Heading]
Decimal Fractionเลขทศนิยม [การแพทย์]
repeating decimalทศนิยมซ้ำ, ทศนิยมที่มีตัวเลขหลังจุดทศนิยมซ้ำกัน  เช่น 2.7262626... มีเลข 26 ซ้ำ,  2.333... มีเลข 3 ซ้ำ (ดู  rational number ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
nonrepeating decimalทศนิยมไม่ซ้ำ, เลขทศนิยมที่มีตัวเลขหลังจุดทศนิยมไม่ซ้ำกัน เช่น 2.726772677726..., 3.141592653...  (ดู repeating decimal ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
decimal numeralเลขทศนิยม, ตัวเลขเขียนแทนจำนวนโดยเขียนจำนวนเต็ม หรือศูนย์อยู่ทางด้านซ้ายของจุดทศนิยม(.) และเศษส่วนในระบบฐานสิบไว้ทางขวาจุดทศนิยม เช่น 27.425 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
decimal pointจุดทศนิยม, ดู  decimal numeral [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
decimaIn 1971 the United Kingdom changed its currency to the decimal system.

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
เศษสิบ(n) decimal fraction, See also: a tenth, Example: ครูสอนวิธีแปลงเศษสิบเป็นเศษส่วนอย่างง่าย ๆ, Thai Definition: เศษส่วนที่มีเศษเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 และมีส่วนเป็นหน่วย 10, Notes: (คณิตศาสตร์)
ทศนิยม(n) decimal, See also: decimal system, Example: การกล่าวถึงน้ำหนักของสารโดยทั่วๆ ไป เราใช้วิธีเทียบเป็นทศนิยมของน้ำหนักที่มีปริมาตรเท่ากัน, Thai Definition: จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้อยู่ข้างหน้าหรืออยู่ระหว่างตัวเลขต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
จุดทศนิยม(n) decimal point, See also: dot in a decimal number, Example: การพิมพ์เครื่องหมายหรือจุดทศนิยมไม่เป็นที่นิยมนำไปใช้ในงานธุรกิจ, Count Unit: จุด, Thai Definition: จุดที่ใส่หลังจำนวนเต็มและหน้าเศษตามวิธีทำเลขแบบทศนิยม

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
จำนวนทศนิยม[jamnūan thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal number  FR: nombre décimal [ m ]
จุดทศนิยม[jut thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal point ; dot in a decimal number  FR: point décimal [ m ] ; virgule décimale [ f ]
ระบบจำนวนฐานสิบ[rabop jamnūan thān sip] (n, exp) FR: système décimal [ m ]
ระบบทศนิยมดิวอี้[rabop thotsaniyom Diūī] (n, exp) EN: Dewey Decimal Classification (DDC) ; Dewey Decimal System  FR: système de classification décimale Dewey (CDD) [ m ]
ระบบตัวเลขฐานสิบ[rabop tūalēk thān sip] (n, exp) EN: decimal system  FR: système de numération décimal [ m ] ; système décimal [ m ]
ระบบตัวเลขฐานสิบหก[rabop tūalēk thān sip-hok] (n, exp) EN: hexadecimal system  FR: système de numération hexadécimal [ m ] ; système hexadécimal [ m ]
เศษส่วนทศนิยม[sētsuan thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal fraction  FR: fraction décimale [ f ]
ทศนิยม[thotsaniyom] (n) EN: decimal ; decimal notation ; decimal system  FR: décimale [ f ] ; notation décimale [ f ]
ทศนิยมไม่รู้จบ[thotsaniyom mai rū jop] (n, exp) EN: infinite decimal ; non-terminating decimal
ทศนิยมไม่ซ้ำ[thotsaniyom mai sam] (n, exp) EN: non-repeating decimal ; non-periodic decimal
ทศนิยมผสม[thotsaniyom phasom] (n, exp) EN: mixed decimal
ทศนิยมรู้จบ[thotsaniyom rū jop] (n, exp) EN: finite decimal ; terminating decimal
ทศนิยมซ้ำ[thotsaniyom sam] (n, exp) EN: recurring decimal

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
decima
decimal
decimals
decimate
decimated
decimating
decimation

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
decimal
decimals
decimate
decimated
decimates
decimalize
decimating
duodecimal
decimalized
decimalizes
decimalizing
decimalization

WordNet (3.0)
circulating decimal(n) a decimal with a sequence of digits that repeats itself indefinitely, Syn. repeating decimal, recurring decimal
decimal(n) a number in the decimal system
decimal(adj) numbered or proceeding by tens; based on ten, Syn. denary
decimal digit(n) a digit from 0 to 9 in decimal notation
decimal fraction(n) a proper fraction whose denominator is a power of 10, Syn. decimal
decimalization(n) the act of changing to a decimal system, Syn. decimalisation
decimalize(v) change from fractions to decimals, Syn. decimalise
decimalize(v) change to the decimal system, Syn. decimalise
decimal notation(n) any notation that uses 10 different characters (usually the digits 0 to 9)
decimal numeration system(n) a positional system of numeration that uses decimal digits and a base of ten, Syn. decimal system, decimal number system
decimal point(n) the dot at the left of a decimal fraction, Syn. point, percentage point
decimate(v) kill one in every ten, as of mutineers in Roman armies
decimation(n) destroying or killing a large part of the population (literally every tenth person as chosen by lot)
dewey decimal classification(n) a system used by libraries to classify nonfictional publications into subject categories; the subject is indicated by a three-digit numeral and further specification is given by numerals following a decimal point; publications are shelved by number, Syn. Dewey decimal system, decimal system of classification
duodecimal(adj) based on twelve
duodecimal digit(n) a digit from 0 to 11 in duodecimal notation
duodecimal notation(n) any notation that uses 12 different characters
duodecimal number system(n) a positional system of numeration that uses duodecimal digits and a radix of twelve, Syn. duodecimal system
hexadecimal(adj) of or pertaining to a number system having 16 as its base, Syn. hex
hexadecimal digit(n) a digit from 0 to 15 in hexadecimal notation
hexadecimal notation(n) any notation that uses 16 different characters, Syn. sexadecimal notation
hexadecimal number system(n) a positional system of numeration that uses hexadecimal digits and a radix of sixteen, Syn. hexadecimal system, sexadecimal number system
eliminate(v) kill in large numbers, Syn. decimate, carry off, extinguish, annihilate, wipe out, eradicate
one-twelfth(n) one part in twelve equal parts, Syn. twelfth, duodecimal, twelfth part

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Bougie decimale

[ F., lit., decimal candle. ] A photometric standard used in France, having the value of one twentieth of the Violle platinum standard, or slightly less than a British standard candle. Called also decimal candle. [ Webster 1913 Suppl. ]

Decimal

a. [ F. décimal (cf. LL. decimalis), fr. L. decimus tenth, fr. decem ten. See Ten, and cf. Dime. ] Of or pertaining to decimals; numbered or proceeding by tens; having a tenfold increase or decrease, each unit being ten times the unit next smaller; as, decimal notation; a decimal coinage. [ 1913 Webster ]


Decimal arithmetic, the common arithmetic, in which numeration proceeds by tens. --
Decimal fraction, a fraction in which the denominator is some power of 10, as 2/10, 25/100, and is usually not expressed, but is signified by a point placed at the left hand of the numerator, as .2, .25. --
Decimal point, a dot or full stop at the left of a decimal fraction. The figures at the left of the point represent units or whole numbers, as 1.05.
[ 1913 Webster ]

Decimal

n. A number expressed in the scale of tens; specifically, and almost exclusively, used as synonymous with a decimal fraction. [ 1913 Webster ]


Circulating decimal, or
Circulatory decimal
, a decimal fraction in which the same figure, or set of figures, is constantly repeated; as, 0.354354354; -- called also recurring decimal, repeating decimal, and repetend.
[ 1913 Webster ]

decimalisation

n. same as decimalization.
Syn. -- decimalization. [ WordNet 1.5 ]

decimalise

v. 1. same as decimalize.
Syn. -- decimalize. [ WordNet 1.5 ]

decimalism

n. The system of a decimal currency, decimal weights, measures, etc. [ 1913 Webster ]

decimalization

n. the act of changing to a decimal system; as, the decimalization of the British currency.
Syn. -- decimalisation. [ WordNet 1.5 ]

Decimalize

v. t. to convert the dominant units of measure (e.g. of currency) to a decimal-based system; to reduce to a decimal system; as, to decimalize the currency. -- Dec`i*mal*i*za"tion n. [1913 Webster]

Decimally

adv. By tens; by means of decimals. [ 1913 Webster ]

Decimate

v. t. [ imp. & p. p. Decimated p. pr. & vb. n. Decimating ] [ L. decimatus, p. p. of decimare to decimate (in senses 1 & 2), fr. decimus tenth. See Decimal. ] 1. To take the tenth part of; to tithe. Johnson. [ 1913 Webster ]

2. To select by lot and punish with death every tenth man of; as, to decimate a regiment as a punishment for mutiny. Macaulay. [ 1913 Webster ]

3. To destroy a considerable part of; as, to decimate an army in battle; to decimate a people by disease. [ 1913 Webster ]

Decimation

n. [ L. decimatio: cf. F. décimation. ] 1. A tithing. [ Obs. ] State Trials (1630). [ 1913 Webster ]

2. A selection of every tenth person by lot, as for punishment. Shak. [ 1913 Webster ]

3. The destruction of any large proportion, as of people by pestilence or war. Milman. [ 1913 Webster ]

Decimator

n. [ Cf. LL. decimator. ] One who decimates. South. [ 1913 Webster ]

Duodecimal

a. [ L. duodecim twelve. See Dozen. ] Proceeding in computation by twelves; expressed in the scale of twelves. -- Du`o*dec"i*mal*ly, adv. [1913 Webster]

Duodecimal

n. 1. A twelfth part; as, the duodecimals of an inch. [ 1913 Webster ]

2. pl. (Arch.) A system of numbers, whose denominations rise in a scale of twelves, as of feet and inches. The system is used chiefly by artificers in computing the superficial and solid contents of their work. [ 1913 Webster ]

Indecimable

a. [ Pref. in- not + LL. decimare to tithe: cf. F. indécimable. See Decimate. ] Not decimable, or liable to be decimated; not liable to the payment of tithes. Cowell. [ 1913 Webster ]

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
个位[gè wèi, ㄍㄜˋ ㄨㄟˋ,   /  ] the units place (or column) in the decimal system #30,083 [Add to Longdo]
小数[xiǎo shù, ㄒㄧㄠˇ ㄕㄨˋ,   /  ] decimal digit #35,915 [Add to Longdo]
小数点[xiǎo shù diǎn, ㄒㄧㄠˇ ㄕㄨˋ ㄉㄧㄢˇ,    /   ] decimal point #42,008 [Add to Longdo]
四舍五入[sì shě wǔ rù, ㄙˋ ㄕㄜˇ ㄨˇ ㄖㄨˋ,     /    ] to round up to the nearest integer; to discard four, but treat five as whole (of decimal points) #52,780 [Add to Longdo]
余留[yú liú, ㄩˊ ㄌㄧㄡˊ,   /  ] remainder; fractional part (after the decimal point); unfinished #92,765 [Add to Longdo]
十进制[shí jìn zhì, ㄕˊ ㄐㄧㄣˋ ㄓˋ,    /   ] decimal #100,496 [Add to Longdo]
十六进制[shí liù jìn zhì, ㄕˊ ㄌㄧㄡˋ ㄐㄧㄣˋ ㄓˋ,     /    ] hexadecimal #139,942 [Add to Longdo]
循环小数[xún huán xiǎo shù, ㄒㄩㄣˊ ㄏㄨㄢˊ ㄒㄧㄠˇ ㄕㄨˋ,     /    ] recurring decimal #207,995 [Add to Longdo]
进位法[jìn wèi fǎ, ㄐㄧㄣˋ ㄨㄟˋ ㄈㄚˇ,    /   ] (math.) system of writing numbers to a base, such as decimal or binary #821,392 [Add to Longdo]
十位[shí wèi, ㄕˊ ㄨㄟˋ,  ] the tens place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
十万位[shí wàn wèi, ㄕˊ ㄨㄢˋ ㄨㄟˋ,    /   ] the hundred thousands place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
十进位[shí jìn wèi, ㄕˊ ㄐㄧㄣˋ ㄨㄟˋ,    /   ] decimal system [Add to Longdo]
十进位法[shí jìn wèi fǎ, ㄕˊ ㄐㄧㄣˋ ㄨㄟˋ ㄈㄚˇ,     /    ] decimal system [Add to Longdo]
千位[qiān wèi, ㄑㄧㄢ ㄨㄟˋ,  ] the thousands place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
数法[shù fǎ, ㄕㄨˋ ㄈㄚˇ,   /  ] method of counting (e.g. decimal or Roman numbers) [Add to Longdo]
百位[bái wèi, ㄅㄞˊ ㄨㄟˋ,  ] the hundreds place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
百万位[bái wàn wèi, ㄅㄞˊ ㄨㄢˋ ㄨㄟˋ,    /   ] the millions place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
万位[wàn wèi, ㄨㄢˋ ㄨㄟˋ,   /  ] the ten thousands place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
余码[yú mǎ, ㄩˊ ㄇㄚˇ,   /  ] excess code (i.e. the unused bits in binary-coded decimal) [Add to Longdo]
[diǎn, ㄉㄧㄢˇ, / ] point; dot; speck; drop; decimal point; point of a scale; point in a theory or argument; downwards-right convex character stroke; a little (usually 一點|一点); a jot; beat (of percussion instrument); to draw a dot; to touch slightly; to drip; classifier for i [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Binärcode { m } für Dezimalzahlenbinary coded decimal (BCD) [Add to Longdo]
Dezimalbruch { m } [ math. ] | periodischer Dezimalbruch | unendlicher, periodischer Dezimalbruchdecimal fraction | repeating decimal | recurring decimal [Add to Longdo]
Dezimaldarstellung { f }decimal notation [Add to Longdo]
Dezimalen { pl }decimals [Add to Longdo]
Dezimalkomma { n } | angenommenes Dezimalkommadecimal point | assumend decimal point [Add to Longdo]
Dezimalkorrektur { f }; Dezimalanordnung { f }decimal adjust [Add to Longdo]
Dezimalpunkt { m }decimal point [Add to Longdo]
Dezimalstelle { f } | Dezimalstellen { pl }decimal place | decimal places [Add to Longdo]
Dezimalsystem { n }; Zehnersystem { n } [ math. ]decimal system [Add to Longdo]
Dezimierung { f } | Dezimierungen { pl }decimation | decimations [Add to Longdo]
Druckdezimalpunkt { m }actual decimal point [Add to Longdo]
Duodezimal { n }duodecimal [Add to Longdo]
Kommaausrichtung { f }decimal alignment [Add to Longdo]
Kommastelle { f }decimal place [Add to Longdo]
Nachkommastelle { f } | Nachkommastellen { pl }decimal place; fractional portion; position after decimal point | post decimal positions [Add to Longdo]
Rechendezimalpunkt { m }assumed decimal point [Add to Longdo]
Vorkommastelle { f }pre-decimal position; place before decimal point [Add to Longdo]
Zehnerpotenz { f }decimal power [Add to Longdo]
binär codierte Dezimalstellebinary coded decimal [Add to Longdo]
binär verschlüsselte Dezimalzahlbinary-coded decimal [Add to Longdo]
binär-dezimalbinary-to-decimal [Add to Longdo]
dezimaldecimal [Add to Longdo]
dezimal-binärdecimal-to-binary [Add to Longdo]
dezimal { adv }decimally [Add to Longdo]
dezimieren | dezimierend | dezimiertto decimate | decimating | decimated [Add to Longdo]
dreistellig { adj } | dreistelliger Dezimalbruchthree-digit; three-figure | number with three decimal places [Add to Longdo]
duodezimal (auf 12 basierend)duodecimal [Add to Longdo]
endlicher Dezimalbruchproper decimal fraction [Add to Longdo]
hexadezimal { adj }hexadecimal [Add to Longdo]
sedezimal { adj } (auf Basis 16)sedecimal [Add to Longdo]
vierstellig { adj } | vierstelliger Dezimalbruch [ math. ]four-digit; four-figure | number with four decimal places [Add to Longdo]
zweistelliger Dezimalbruchnumber with two decimal places [Add to Longdo]
binär codierte DezimalzifferBCD : binary coded decimal [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
[くらい, kurai] (ctr) (1) rank; place (e.g. first place); (2) decimal place; (3) counter for ghosts; (P) #116 [Add to Longdo]
10進2進変換;十進二進変換[じっしんにしんへんかん, jisshinnishinhenkan] (n) { comp } decimal to binary conversion [Add to Longdo]
10進演算;十進演算[じっしんえんざん, jisshin'enzan] (n) { comp } decimal arithmetic [Add to Longdo]
10進演算子;十進演算子[じっしんえんざんし, jisshin'enzanshi] (n) { comp } decimal operator [Add to Longdo]
10進基数;十進基数[じっしんきすう, jisshinkisuu] (n) { comp } decimal radix [Add to Longdo]
10進小数;十進小数[じっしんしょうすう, jisshinshousuu] (n) { comp } decimal fraction [Add to Longdo]
10進小数点;十進小数点[じっしんしょうすうてん, jisshinshousuuten] (n) { comp } decimal point [Add to Longdo]
10進数;十進数[じっしんすう, jisshinsuu] (n) { comp } decimal; decimal digit; decimal number [Add to Longdo]
2進化10進コード;二進化十進コード[にしんかじっしんコード, nishinkajisshin ko-do] (n) { comp } binary-coded decimal code [Add to Longdo]
2進化10進数;二進化十進数[にしんかじっしんすう, nishinkajisshinsuu] (n) { comp } binary coded decimal; BCD [Add to Longdo]
2進化10進表示法;二進化十進進表示法[にしんかじっしんひょうじほう, nishinkajisshinhyoujihou] (n) { comp } binary-coded decimal representation [Add to Longdo]
2進化10進法;二進化十進法[にしんかじっしんほう, nishinkajisshinhou] (n) { comp } binary-coded decimal notation [Add to Longdo]
アンパック10進表記法;アンパック十進表記法[アンパックじっしんひょうきほう, anpakku jisshinhyoukihou] (n) { comp } unpacked decimal notation [Add to Longdo]
コンマ以下[コンマいか, konma ika] (exp) below the decimal; of no account [Add to Longdo]
デシマル[deshimaru] (n) decimal [Add to Longdo]
デシマルポイント[deshimarupointo] (n) decimal point [Add to Longdo]
ハートレー[ha-tore-] (n) { comp } Hartley; decimal unit of information content [Add to Longdo]
パック10進表記法;パック1十進表記法[パックじっしんひょうきほう, pakku jisshinhyoukihou] (n) { comp } packed decimal notation [Add to Longdo]
位取り[くらいどり, kuraidori] (n, vs) grade; class; quality; unit; digit; positioning of decimal point [Add to Longdo]
固定小数点方式[こていしょうすうてんほうしき, koteishousuutenhoushiki] (n) { comp } fixed decimal mode [Add to Longdo]
実10進小数点;実十進小数点[じつじっしんしょうすうてん, jitsujisshinshousuuten] (n) { comp } actual decimal point [Add to Longdo]
実際の小数点[じっさいのしょうすうてん, jissainoshousuuten] (n) { comp } actual decimal point [Add to Longdo]
実小数点[じつしょうすうてん, jitsushousuuten] (n) { comp } actual decimal point [Add to Longdo]
十進;10進[じっしん;じゅっしん, jisshin ; jusshin] (adj-na, adj-no) decimal; denary; deciam [Add to Longdo]
十進制[じっしんせい, jisshinsei] (n) decimal system [Add to Longdo]
十進表記法[じっしんひょうきほう, jisshinhyoukihou] (n) { comp } decimal notation [Add to Longdo]
十進分類体系[じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] (n) { comp } decimal classification system [Add to Longdo]
十進分類法[じっしんぶんるいほう, jisshinbunruihou] (n) decimal classification; Dewey (decimal) classification [Add to Longdo]
十進法;10進法[じっしんほう, jisshinhou] (n) decimal system [Add to Longdo]
十部門分類法[じゅうぶもんぶんるいほう, juubumonbunruihou] (n) Dewey Decimal System [Add to Longdo]
十六進法;16進法[じゅうろくしんほう, juurokushinhou] (n) { comp } hexadecimal; hexadecimal notation [Add to Longdo]
循環小数[じゅんかんしょうすう, junkanshousuu] (n) recurring decimal [Add to Longdo]
小数[しょうすう, shousuu] (n, adj-no) fraction (part of); decimal fraction; (P) [Add to Longdo]
小数点(P);少数点(iK)[しょうすうてん, shousuuten] (n) decimal point; radix point; (P) [Add to Longdo]
小数点以下の桁数[しょうすうてんいかのけたすう, shousuuten'ikanoketasuu] (n) { comp } number of decimal places [Add to Longdo]
小数点記号[しょうすうてんきごう, shousuutenkigou] (n) { comp } decimal marker [Add to Longdo]
想定小数点[そうていしょうすうてん, souteishousuuten] (n) { comp } assumed decimal point [Add to Longdo]
日本十進分類法[にほんじっしんぶんるいほう, nihonjisshinbunruihou] (n) Nippon Decimal Classification; Nippon Decimal System (of book classification) [Add to Longdo]
浮動小数点方式[ふどうしょうすうてんほうしき, fudoushousuutenhoushiki] (n) { comp } floating decimal mode [Add to Longdo]
符号化10進;符号化十進[ふごうかじっしん, fugoukajisshin] (n) { comp } coded decimal [Add to Longdo]
符号化10進法;符号化十進法[ふごうかじっしんほう, fugoukajisshinhou] (n) { comp } coded decimal notation [Add to Longdo]
無限小数[むげんしょうすう, mugenshousuu] (n) infinite decimals [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
10進[10しん, 10 shin] decimal [Add to Longdo]
10進2進変換[10しん2しんへんかん, 10 shin 2 shinhenkan] decimal to binary conversion [Add to Longdo]
10進演算[10しんえんざん, 10 shin'enzan] decimal arithmetic [Add to Longdo]
10進演算子[10しんえんざんし, 10 shin'enzanshi] decimal operator [Add to Longdo]
10進基数[10しんきすう, 10 shinkisuu] decimal radix [Add to Longdo]
10進小数[10しんしょうすう, 10 shinshousuu] decimal fraction [Add to Longdo]
10進小数点[10しんしょうすうてん, 10 shinshousuuten] decimal point [Add to Longdo]
10進数[10しんすう, 10 shinsuu] decimal, decimal digit, decimal number [Add to Longdo]
10進法[10しんほう, 10 shinhou] decimal, decimal notation [Add to Longdo]
2進化10進コード[2しんか10しんコード, 2 shinka 10 shin ko-do] binary-coded decimal code [Add to Longdo]
2進化10進数[2しんか10しんすう, 2 shinka 10 shinsuu] binary coded decimal (BCD) [Add to Longdo]
2進化10進表示法[2しんか10しんひょうじほう, 2 shinka 10 shinhyoujihou] binary-coded decimal representation [Add to Longdo]
2進化10進法[2しんか10しんほう, 2 shinka 10 shinhou] binary-coded decimal notation [Add to Longdo]
アンパック10進表記法[あんぱっく10しんひょうきほう, anpakku 10 shinhyoukihou] unpacked decimal notation [Add to Longdo]
ハートレー[はーとれー, ha-tore-] Hartley, decimal unit of information content [Add to Longdo]
パック10進表記法[ぱっく10しんひょうきほう, pakku 10 shinhyoukihou] packed decimal notation [Add to Longdo]
固定小数点方式[こていしょうすうてんほうしき, koteishousuutenhoushiki] fixed decimal mode [Add to Longdo]
実10進小数点[じつ10しんしょうしゅうてん, jitsu 10 shinshoushuuten] actual decimal point [Add to Longdo]
実際の小数点[じっさいのしょうすうてん, jissainoshousuuten] actual decimal point [Add to Longdo]
実小数点[じつしょうすうてん, jitsushousuuten] actual decimal point [Add to Longdo]
十進表記法[じっしんひょうきほう, jisshinhyoukihou] decimal notation [Add to Longdo]
十進分類体系[じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] decimal classification system [Add to Longdo]
小数[しょうすう, shousuu] decimal fraction [Add to Longdo]
小数点[しょうすうてん, shousuuten] decimal point, radix point [Add to Longdo]
小数点以下の桁数[しょうすうてんいかのけたすう, shousuuten'ikanoketasuu] No. of decimal places [Add to Longdo]
小数点記号[しょうすうてんきごう, shousuutenkigou] decimal marker [Add to Longdo]
想定した位取り[そうていしたいとり, souteishitaitori] assumed decimal scaling position [Add to Longdo]
想定した小数点[そうていしたしょうすうてん, souteishitashousuuten] assumed decimal point [Add to Longdo]
想定小数点[そうていしょうすうてん, souteishousuuten] assumed decimal point [Add to Longdo]
浮動小数点方式[ふどうしょうすうてんほうしき, fudoushousuutenhoushiki] floating decimal mode [Add to Longdo]
符号化10進[ふごうか10しん, fugouka 10 shin] coded decimal [Add to Longdo]
符号化10進法[ふごうか10しんほう, fugouka 10 shinhou] coded decimal notation [Add to Longdo]

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top